สัญญาซื้อขายสินค้าไปต่างประเทศ
เมื่อมีลูกค้ามาสั่งซื้อสินค้า ใครๆ ก็อยากรีบขายเพื่อให้ได้เงินหมุนเวียนในธุรกิจอย่างต่อเนื่อง ผู้สงออกก็เช่นเดียวกัน เมื่อมีลูกค้าต่างประเทศสนใจสินค้า มีการตกลงเจรจา ปรับปรุง ตรวจสอบทดสอบสินค้ากันมาระยะหนึ่งจนนำมาสู่การสั่งซื้อสินค้าอย่างจริงจัง
แต่การซื้อขายในการส่งออกอาจจะยากกว่าการซื้อขายสำหรับการค้าขายในประเทศบ้าง เช่น ในเรื่องของการตั้งราคาขายสินค้าที่เป็นสกุลเงินต่างประเทศ เงื่อนไขการชำระเงิน การระบุเงื่อนไขการส่งมอบสินค้าที่มีชื่อเป็นทางการว่ข้อสัญญามาตรฐานในการค้าระหว่างประเทศ (International CommercialTerms) หรือที่คุ้นเคยกันทั่วไปว่า อินโคเทอม (Incoterms) การกำหนดการแก้ไขปัญหาข้อโต้แย้งทางการค้า เป็นต้น
ในทางทฤษฎี เมื่อมีการเสนอราคาและตกลงกันเรียบร้อยแล้ว ขั้นตอนการซื้อขายจะเกิดขึ้นโดยเริ่มผู้ขายจัดทำ Pro-forma Invoice ส่งให้ผู้ซื้อสินค้าเพื่อเป็นการเสนอหรือยืนยันการเสนอราคาและเงื่อนไขต่างๆ ในการขายสินค้านั้นๆ เมื่อผู้ซื้อหรือตัวแทนของผู้ซื้อตกลงตามราคา และเงื่อนไขใน Pro-forma Invoice แล้วจะส่งใบสั่งซื้อ(Purchase Order) ให้ผู้ขายเพื่อเป็นการตอบรับและสั่งซื้อสินค้าตามราคา และเงื่อนไขดังกล่าว และในขั้นตอนสุดท้ายคือ การทำสัญญาซื้อขาย (Sales Contract) หรือ Sales Confimation ซึ่งผู้ขายส่งให้แก่ผู้ซื้อเพื่อยืนยันหรือตอบรับการสั่งซื้อสินค้าพร้อมรายละเอียดต่างๆ ทั้งด้านสินค้า การชำระเงิน การส่งมอบ เงื่อนไขต่างๆ อย่างละเอียดอีกครั้งหนึ่ง
ซึ่งในทางปฏิบัติ ผู้ส่งออกจำนวนมากไม่ว่าจะเป็นผู้ส่งออกระดับชาติหรือผู้ส่งออก SMEs มือใหม่ เมื่อมีคนต้องการซื้อสินค้า ก็ไม่สนใจเรื่องสัญญาซื้อขายเลย แต่ใช้เพียง Pro-forma Invoice หรือใบสั่งซื้อเป็นข้อตกลงซื้อขายสินค้า หรือไม่ก็ใช้สัญญาซื้อขายในรูปแบบที่ผู้ซื้อกำหนดมา หรือมีสัญญาซื้อขายแต่มักจะตกลงกันเฉพาะในเรื่องที่สำคัญเท่านั้น เช่น ในเรื่องสินค้าอะไร ปริมาณเท่าไร ราคาสินค้า วันและสถานที่ส่งมอบ เงื่อนไขการส่งมอบ และเงื่อนไขพิเศษบางประเภทเท่านั้น ซึ่งการกระทำเช่นนี้มีความเสี่ยงครับ
ในทางกฎหมายนั้น สัญญาซื้อขายระหว่างประเทศมีวัตถุประสงค์ที่สำคัญคือเพื่อให้มีการขนส่งสินค้าจากประเทศหนึ่งไปยังอีกประเทศหนึ่งโดยผู้ซื้อและผู้ขายอยู่คนละประเทศสัญญาซื้อขายระหว่างประเทศจึงประกอบด้วยสัญญาหลายประเภทในสัญญาฉบับเดียว โดยมีสัญญาซื้อขายสินค้าเป็นหลัก และมีสัญญาเกี่ยวเนื่องอื่นๆ ได้แก่ สัญญารับขน สัญญาประกันภัย การชำระงินระหว่างประเทศ หรือเงื่อนไขเฉพาะบางประการ Retention of Title เป็นต้น รวมทั้งสัญญาซื้อขายที่จะมีผลทางกฎหมายมักมีข้อตกลงเกี่ยวกับกฎหมายที่ใช้บังคับ ศาลที่มีอำนาจพิจารณาคดี และอนุญาโตตุลาการ
สัญญาซื้อขายที่ระบุข้อความเรื่อง Retention of Title อาจทำให้ผู้ส่งออกได้รับสินค้าคืน เมื่อผู้ซื้อล้มละลายหรือไม่ชำระเงินค่สินค้าแม้ว่าสินค้าจะอยู่ในมือของผู้ซื้อแล้ว ในทางกลับกัน มีกรณีที่ผู้ส่งออกที่ใช้สัญญาซื้อขายที่จัดทำโดยผู้ซื้อ และไม่ได้อ่านหรือทำความเข้าใจในข้อสัญญาอย่างถ่องแท้ ไม่ได้รับเงินค่าสินค้าและถูกเรียกเก็บเงินเพิ่มจากการขายสินค้าส่งออกจากผู้ซื้อซึ่งเงินทั้งหมดมากกว่าราคาสินค้าที่ขายไปเสียอีกด้วย เพราะในสัญญาซื้อขายระบุให้ ผู้ซื้อสามารถเรียกเก็บคำใช้จ่ายใดๆ ที่เกิดขึ้นจากการทำตลาดและจัดโปรโมทสินค้าของผู้ส่งออก จะสามารถขอรับการชดเชยจากผู้ขายสินค้าได้
ดังนั้น สัญญาซื้อขายที่ดีจะทำให้ผู้ซื้อและผู้ขายได้รับความสะดวกและชัดเจนในการกำหนดสิทธิและหน้าที่ของคู่สัญญา เรื่องภาระหน้าที่และเงื่อนไขต่างๆ การจัดการเกี่ยวกับการขนส่งสินค้า ความรับผิดชอบต่อความเสียหายที่อาจจะเกิดขึ้น ความเสี่ยงภัยในสินค้า ภาระหน้าที่และค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่เกี่ยวเนื่องกับสินค้าอีกด้วยตลอดจนค่าใช้จ่ายต่างๆ ให้ขัดเจน เพื่อให้เกิดความเข้าใจระหว่างผู้ซื้อและผู้ขายซึ่งปกติจะอยู่คนละประเทศ รวมถึงหลีกเลี่ยงความไม่ชัดเจนต่างๆ อันจะเป็นสาเหตุแห่งการพิพาทหรือโต้แย้งในอนาคต และที่สำคัญที่สุดคือการทำสัญญาซื้อขายทุกครั้งต้องพิจารณาเรื่องต่างๆ ให้ครบถ้วนและกระทำอย่างรอบคอบอยู่เสมอ
อ่านบทความทั้งหมด >>> จดทะเบียนบริษัท.com
ขอบคุณที่มาบทความ:exim.go.th/getattachment/07478ee9-12d6-491a-aac8-041160739fcc/%E0%B8%AA%E0%B8%8D%E0%B8%8D%E0%B8%B2%E0%B8%8B%E0%B8%AD%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A2.%E0%B9%80%E0%B8%A3%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%97%E0%B8%9C%E0%B8%AA%E0%B8%87%E0%B8%AD%E0%B8%AD%E0%B8%81%E0%B9%84%E0%B8%A1%E0%B8%84%E0%B8%A7%E0%B8%A3%E0%B8%A1%E0%B8%AD%E0%B8%87%E0%B8%82%E0%B8%B2%E0%B8%A1-%E0%B8%AB%E0%B8%99%E0%B8%87%E0%B8%AA%E0%B8%AD%E0%B8%9E%E0%B8%A1%E0%B8%9E%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%98%E0%B8%A3%E0%B8%81%E0%B8%88-%E0%B8%89%E0%B8%9A%E0%B8%9A%E0%B8%A7%E0%B8%99%E0%B8%97-25-27-%E0%B8%A1%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%84%E0%B8%A1-2556.aspxรับจดทะเบียนบริษัท โทร.081-931-8341 (คุณจ๋า)
เครื่องถ่ายเอกสาร เปิดการค้า จัดตั้ง ที่ไหน ทำเล?
แผนธุรกิจร้านถ่ายเอกสาร แฟ รน ไช ส์ ร้านถ่ายเอกสาร ดั๊บเบิ้ล เอ เปิดร้านถ่ายเอกสาร ต้อง จดทะเบียน ไหม เปิดร้านถ่ายเอกสาร pantip จุด คุ้มทุน ร้านถ่ายเอกสาร อนาคต ร้านถ่ายเอกสาร วิธี คิดค่าถ่ายเอกสาร เปิดร้านถ่ายเอกสาร
เลี้ยงปลากัด เปิดการค้า จัดตั้ง ที่ไหน ทำเล?
หัก ณ ที่จ่าย รับ ซื้อปลากัด วิธี ขายปลากัด ส่งออก ต่างประเทศ บริษัท ส่งออกปลากัด ธุรกิจปลาสวยงาม ฟาร์ม ปลากัด เลี้ยงปลากัดขายดีไหม เพจ รับซื้อปลากัด ออนไลน์
เครื่องสำอางค์ เปิดการค้า ที่ไหน คู่แข่ง รายได้?
ทำแบรนด์ งบ 5,000 อยากเป็นเจ้าของแบรนด์ ต้องมีเงิน เท่า ไหร่ ทำแบรนด์ ราคา หลักพัน สร้างแบรนด์ครีม ลงทุนเท่าไหร่ ผลิตแบรนด์ ตัว เอง สร้างแบรนด์ งบน้อย ทําแบรนด์เครื่องสําอาง pantip อยากเป็นเจ้าของแบรนด์ครีม ทําไง
เย็บผ้า เปิดการค้า จัดตั้ง ที่ไหน ทำเล?
หัก ณ ที่จ่าย เปิด โรงงาน เย็บผ้า เย็บผ้าขายเอง จดทะเบียนร้านเย็บผ้า ขั้น ตอน การตัด เย็บ เสื้อผ้า ขั้น ตอน การผลิตเสื้อผ้า ร้านเย็บเสื้อผ้า ใกล้ฉัน รับตัดเสื้อผ้า ขั้นต่ำ 10 ตัว โรงงานตัดเย็บเสื้อผ้า ออนไลน์
คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ เปิดการค้า ที่ไหน คู่แข่ง รายได้?
คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ เงินเดือน คอนเทนต์ครีเอเตอร์ มีอะไรบ้าง ครีเอเตอร์ดิจิทัล เฟสบุ๊ค คอนเทนต์ ครีเอเตอร์ คืออะไร อาชีพครีเอเตอร์ คืออะไร Content Creator คุณสมบัติ content creator จบอะไร ครีเอเตอร์ดิจิทัล คือ
ติดฟิล์มรถยนต์ เปิดการค้า จัดตั้ง ที่ไหน ทำเล !
ภาษีหัก ณ ที่จ่าย ติดฟิล์มรถยนต์ ใกล้ฉัน ติดฟิล์มรถยนต์ เท่าไหร่ ติดฟิล์มรถยนต์ ราคาถูก ติดฟิล์มรถยนต์ เท่า ไหร่ ดี ติดฟิล์มรถยนต์ยี่ห้อไหนดี /60 ราคา ร้านติดฟิล์มรถยนต์ ติดฟิล์มรถยนต์ 60 รอบคัน ราคา ใกล้ฉัน ออนไลน์
เลี้ยงปลาทับทิม เปิดการค้า จัดตั้ง ที่ไหน ทำเล?
หัก ณ ที่จ่าย ต้นทุนการเลี้ยงปลาทับทิม การเลี้ยงปลาทับทิม แบบ ธรรมชาติ ปลาทับทิม ชอบกิน อะไร วิธีเลี้ยงปลาทับทิมในบ่อปูน ฟาร์มปลาทับทิม วิธีเลี้ยงปลาทับทิมให้โตเร็ว เลี้ยงปลาทับทิม บ่อดิน ปัญหาการเลี้ยงปลาทับทิม ออนไลน์
รับพิมพ์ชุดจดทะเบียนบริษัท มีกี่แบบ?
หัก ณ ที่จ่าย ตัวอย่างจดทะเบียนบริษัท เอกสารจดทะเบียนบริษัท การจดทะเบียนบริษัท มีกี่แบบ ขั้น ตอน การ จดทะเบียน บริษัท คนเดียว เอกสาร จดทะเบียน บริษัท การจดทะเบียนบริษัท คนเดียว จดทะเบียนบริษัท 2 คน